วันพุธที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน
 
วิชา  การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิ่น

วัน/  เดือน/ ปี  4  ธันวาคม 2556

ครั้งที่ 5  เวลาเรียน  08: 30  -  12:20

เวลาเข้าสอน 08:30   เวลาเข้าเรียน  08: 30  เวลาเลิกเรียน   12: 20




กิจกรรมคณิตศาสตร์ที่ทำวันนี้คือศิลปะรูปดอกไม้














  สิ่งที่ได้ในกิจกรรมนี้คือ


1.       การนับเลข
2.       การวัด คือ เราต้องมีการวัดขนาดของกลีบดอกและใบของดอกไม้เพื่อให้เกิดความสมดุล
3.       รู้จักสีที่หลากหลาย
4.       รู้จักชื่ออุปกรณ์ที่ใช้  เช่น  กรรไกร  กาว  กระดาษ

การนำไปประยุกต์ใช้

          เมื่อเราจะนำไปให้เด็กปฐมวัยทำเราควรจะตัดกระดาษที่เป็นกลีบดอก  และใบไว้ให้เด็กโดยให้มีหลากหลายรูปทรง  เช่น  วงกลม  สามเหลี่ยม  สี่เหลี่ยม  วงรี    เป็นต้น   และให้เด็กเป็นคนที่กำหนดเลขของตนเองอย่างอิสระและติดกลีบตามจำนวนเลขที่เด็กนั้นกำหนดขึ้นมา




บันทึกอนุทิน
 
วิชา  การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิ่น

วัน/  เดือน/ ปี  27  พฤศจิกายน  2556

ครั้งที่ 4  เวลาเรียน  08: 30  -  12:20

เวลาเข้าสอน 08:30   เวลาเข้าเรียน  08: 30  เวลาเลิกเรียน   12: 20





วันนี้มีการนำเสนองานกลุ่มทั้ง  5  กลุ่ม  ประกอบด้วย
1. จำนวนและการดำเนินการ
2. การวัด
3. เรขาคณิต
4. พีชคณิต
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น





           จำนวนและการนำเนินการ

  จำนวน  การนับ  การเปรียบเทียบจำนวนการเรียงลำดับจำนวน  อันดับที่  ตัวเลข วิธีการแสดงจำนวนมีหลายวิธี  ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวน การรวมกลุ่มและการแยกกลุ่ม




          การวัด

   คุณสมบัติของสิ่งต่างๆเกี่ยวกับการวัดความยาว  น้ำหนัก  ปริมาตร วิธีการวัดและหน่วยการวัดไม่เป็นมาตรฐาน   การเปรียบเทียบความยาว  น้ำหนัก  ปริมาตร การเรียงลำดับความยาว  น้ำหนัก  ชนิดและค่าของเงิน  เวลา


             เรขาคณิต

  รูปเรขาคณิตสองมิติ-รูปวงกลมรูปสามเหลี่ยมรูปสี่เหลี่ยม  และรูปเรขาคณิตสามมิติ ทรงกลม  ทรงสี่เหลี่ยม กรวย   ทรงกระบอก  ลักษณะและคุณสมบัติของรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ  การเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิต  การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะจากรูปเรขาคณิต


          พีชคณิต




            การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น

  การจัดกระทำกับขอมูล  การรวบรวม  และการนำเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิอย่างง่ายๆ






วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556


บันทึกอนุทิน

วิชา  การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิ่น

วัน/  เดือน/ ปี  20  พฤศจิกายน  2556

ครั้งที่ 3  เวลาเรียน  08: 30  -  12:20

เวลาเข้าสอน 08:30   เวลาเข้าเรียน  08: 30  เวลาเลิกเรียน   12: 20


  จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

- เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่นการรู้จักคำศัพท์
- เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น  การบวก ลบ
- เพื่อให้เดฝ้กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
- เพื่อให้เด็กมีความร้ความเข้าใจ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง


ทักษะพื้นฐานทางคณิตสาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

1.การสังเกต (obseration)
- การใช้ประสาทสัมผัสอย่าใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันในการเรียนรู้โดยเข้าไปมีปฎิสัมพันธ์โดยตรงกับวัตุสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างมีจุดมุ่งหมาย

2.การจำแนกประเภท(classifying)
- การแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์หรือส้างเกณฑ์ในกานแบ่งขึ้น
- เกณฑ์ในการจำแนก คือ ความเหมือน ความแตกต่าง และความสัมพันธ์

3.การเปรียบเทียบ(camparing)
- เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไป
- เด็กจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นๆและรู้จักคำศัพท์คณิศาสตร์ที่ต้องใช้

4.การจัดลำดับ(ordering)
-เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
- การจัดวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์                                                                   

5.การวัด(measuriment)
- มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
- การวัดสำหรับเด็กปฐมวัยได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง
ความยาว ความหนัก ปริมาณ

*** การวัดของเด็กปฐมวัยไม่ใช้หน่วยมาตรฐานในการวัด

6. การนับ(caunting)
- เด็กชอบการนับแบบท่องจำโดยไม่เข้าใจความหมาย
- การนับแท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง

7. รูปทรงและขนาด(sherp and size)
- เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนจะเข้าเรียน


       
คำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์

- ตัวเลข             = มาก       น้อย       น้อยกว่า      มากกว่า       ไม่มี      ทั้งหมด
- ขนาด             = ใหญ่        คล้าย     สองเท่า       ใหญ่ที่สุด       สูง        เตี้ย
- ที่ตั้ง                = บน          ต้ำ         ขวา             สูงที่สุด ยอด  ก่อน    ระยะทาง     ระหว่าง
- ค่าของเงิน       = สลึง         ห้าสิบสตางค์             หนึ่งบาท        ห้าบาท       สิบบาท
- ความเร็ว          = เร็ว          ช้า         เดิน              วิ่ง              คลาน
- อุณภูมิ             = เย็น         ร้อน        อุ่น              เดือด


         กิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะทางคณิตศาสตร์  คือวาดภาพสถานที่ที่เราผ่านก่อนถึงมหาวิทยาลัยมาสามที่เป็นการเสริมสร้างทักษะทางคณิตศาตร์  เช่นการสังเกต  การเปรียบเทียบ  การเรียงลำดับ     การนับ   รูปทรงและขนาดเป็นต้น











วันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556



บันทึกอนุทิน

วิชา  การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิ่น

วัน/  เดือน/ ปี  13  พฤศจิกายน  2556

ครั้งที่ 2  เวลาเรียน  08: 30  -  12:20


เวลาเข้าสอน 08:30   เวลาเข้าเรียน  08: 30  เวลาเลิกเรียน   12: 20



   ความหมายของคณิตศาสตร์
          คือ ระบบการคิดของมนุษย์ เพื่อศึกษาและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในเชิงปริมาณโดยใช้ภาพสัญลักษณ์ การพูด การเขียนและเป็นการเรีนรู้เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนตัวเลข การคิดคำนวน หรือการำเนินกาเกี่ยวกับจำนวน การวัด เรขาคณิต พีชคณิต หรือรูปแบบความสัมพันธ์ ต้องใช้ความคิดเป็ระบบ

        ความสำคัญของคณิตศาสตร์   

  - เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน
  - ส่งเสริมกระบวนการแก้ปัญหาโดยเฉพาะอาศัยหลักการทางคณิตศาสร์
 - เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการสำรวจข้อมูล การวางแผนและการประเมินผล
 - เป็นพื้นฐานของกาเรียนรู้วิชาต่างๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

     ทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัยตามแนวคิดของ piajet 
 1 . ขั้นพัฒนาด้านประสาทัมผัส   (sensorimotor  stege)  แรกเกิด - 2 ปี
 - เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสต่างๆ
 - สามารถจดจำสิ่งต่างๆบอกคุณลักษณะของวัตถุได้
2 . ขั้นเตรียมการความคิดที่มีเหตุผล (preoperationaal)  2 - 7 ปี
 - ใช้ภาษาพูดแสดงความรู้ ความคิด
 - เริ่มรู้จักคำที่บอกขนาด นำหนัก รูปทรงและความยาว
 - เล่นบทบาทสมมติ 
 - ไม่สามารถคงความคิดตามสภาพเดิมไว้ได้เมื่อสภาพทางกายภาพเปลี่ยนแปลงทำให้เด็กไม่สามารถสั่งสมความคิดไว้ได้
 การอนุรักษ์ (conseration) คือการที่เด็กไม่สามารถกรองความคิดไว้ได้เด็กตัดสินทุกอย่างตามที่เห็น

  เด็กสามารถอนุรักษ์ได้โดย


- การนับ
- การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง
- การเปรียบเทียบรูปทรง
- การเรียงลำดับ
- จัดกลุ่ม
   หลักการจัดประสบการณ์คณิศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- เปิดโอกาสให้เด็กได้พูดคุย อธิบายสำรวจความสัมพันธ์แบบต่างๆของคณิตศาสตร์





  
กิจกรรมวาดภาพสัตว์ที่ชอบและมีหลายเท้า