วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556


บันทึกอนุทิน

วิชา  การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิ่น

วัน/  เดือน/ ปี  20  พฤศจิกายน  2556

ครั้งที่ 3  เวลาเรียน  08: 30  -  12:20

เวลาเข้าสอน 08:30   เวลาเข้าเรียน  08: 30  เวลาเลิกเรียน   12: 20


  จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

- เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่นการรู้จักคำศัพท์
- เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น  การบวก ลบ
- เพื่อให้เดฝ้กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
- เพื่อให้เด็กมีความร้ความเข้าใจ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง


ทักษะพื้นฐานทางคณิตสาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

1.การสังเกต (obseration)
- การใช้ประสาทสัมผัสอย่าใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันในการเรียนรู้โดยเข้าไปมีปฎิสัมพันธ์โดยตรงกับวัตุสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างมีจุดมุ่งหมาย

2.การจำแนกประเภท(classifying)
- การแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์หรือส้างเกณฑ์ในกานแบ่งขึ้น
- เกณฑ์ในการจำแนก คือ ความเหมือน ความแตกต่าง และความสัมพันธ์

3.การเปรียบเทียบ(camparing)
- เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไป
- เด็กจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นๆและรู้จักคำศัพท์คณิศาสตร์ที่ต้องใช้

4.การจัดลำดับ(ordering)
-เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
- การจัดวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์                                                                   

5.การวัด(measuriment)
- มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
- การวัดสำหรับเด็กปฐมวัยได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง
ความยาว ความหนัก ปริมาณ

*** การวัดของเด็กปฐมวัยไม่ใช้หน่วยมาตรฐานในการวัด

6. การนับ(caunting)
- เด็กชอบการนับแบบท่องจำโดยไม่เข้าใจความหมาย
- การนับแท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง

7. รูปทรงและขนาด(sherp and size)
- เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนจะเข้าเรียน


       
คำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์

- ตัวเลข             = มาก       น้อย       น้อยกว่า      มากกว่า       ไม่มี      ทั้งหมด
- ขนาด             = ใหญ่        คล้าย     สองเท่า       ใหญ่ที่สุด       สูง        เตี้ย
- ที่ตั้ง                = บน          ต้ำ         ขวา             สูงที่สุด ยอด  ก่อน    ระยะทาง     ระหว่าง
- ค่าของเงิน       = สลึง         ห้าสิบสตางค์             หนึ่งบาท        ห้าบาท       สิบบาท
- ความเร็ว          = เร็ว          ช้า         เดิน              วิ่ง              คลาน
- อุณภูมิ             = เย็น         ร้อน        อุ่น              เดือด


         กิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะทางคณิตศาสตร์  คือวาดภาพสถานที่ที่เราผ่านก่อนถึงมหาวิทยาลัยมาสามที่เป็นการเสริมสร้างทักษะทางคณิตศาตร์  เช่นการสังเกต  การเปรียบเทียบ  การเรียงลำดับ     การนับ   รูปทรงและขนาดเป็นต้น











วันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556



บันทึกอนุทิน

วิชา  การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิ่น

วัน/  เดือน/ ปี  13  พฤศจิกายน  2556

ครั้งที่ 2  เวลาเรียน  08: 30  -  12:20


เวลาเข้าสอน 08:30   เวลาเข้าเรียน  08: 30  เวลาเลิกเรียน   12: 20



   ความหมายของคณิตศาสตร์
          คือ ระบบการคิดของมนุษย์ เพื่อศึกษาและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในเชิงปริมาณโดยใช้ภาพสัญลักษณ์ การพูด การเขียนและเป็นการเรีนรู้เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนตัวเลข การคิดคำนวน หรือการำเนินกาเกี่ยวกับจำนวน การวัด เรขาคณิต พีชคณิต หรือรูปแบบความสัมพันธ์ ต้องใช้ความคิดเป็ระบบ

        ความสำคัญของคณิตศาสตร์   

  - เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน
  - ส่งเสริมกระบวนการแก้ปัญหาโดยเฉพาะอาศัยหลักการทางคณิตศาสร์
 - เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการสำรวจข้อมูล การวางแผนและการประเมินผล
 - เป็นพื้นฐานของกาเรียนรู้วิชาต่างๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

     ทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัยตามแนวคิดของ piajet 
 1 . ขั้นพัฒนาด้านประสาทัมผัส   (sensorimotor  stege)  แรกเกิด - 2 ปี
 - เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสต่างๆ
 - สามารถจดจำสิ่งต่างๆบอกคุณลักษณะของวัตถุได้
2 . ขั้นเตรียมการความคิดที่มีเหตุผล (preoperationaal)  2 - 7 ปี
 - ใช้ภาษาพูดแสดงความรู้ ความคิด
 - เริ่มรู้จักคำที่บอกขนาด นำหนัก รูปทรงและความยาว
 - เล่นบทบาทสมมติ 
 - ไม่สามารถคงความคิดตามสภาพเดิมไว้ได้เมื่อสภาพทางกายภาพเปลี่ยนแปลงทำให้เด็กไม่สามารถสั่งสมความคิดไว้ได้
 การอนุรักษ์ (conseration) คือการที่เด็กไม่สามารถกรองความคิดไว้ได้เด็กตัดสินทุกอย่างตามที่เห็น

  เด็กสามารถอนุรักษ์ได้โดย


- การนับ
- การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง
- การเปรียบเทียบรูปทรง
- การเรียงลำดับ
- จัดกลุ่ม
   หลักการจัดประสบการณ์คณิศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- เปิดโอกาสให้เด็กได้พูดคุย อธิบายสำรวจความสัมพันธ์แบบต่างๆของคณิตศาสตร์





  
กิจกรรมวาดภาพสัตว์ที่ชอบและมีหลายเท้า












วันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน



วิชา  การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิ่น

วัน/  เดือน/ ปี  6  พฤศจิกายน  2556

ครั้งที่ 1  เวลาเรียน  08: 30  -  12:20

เวลาเข้าสอน 08:30   เวลาเข้าเรียน  08: 30  เวลาเลิกเรียน   12: 20








             -  mind  map  การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยตามความเข้าใจของนักศึกษา



 - สาระที่ใช้ในการเรียนคณิตศาตร์ เช่น  จำนวน  การนับ  ารเปรียบเทียบ     รูปทรง    ความสัมพันธ์

- สื่อที่ใช้ในการสอนคณิตสาศตร์ที่ส่งเสริมทักษะทางคณิตสาศตร์สำหรับเด็ก

- สภาพแวดล้อม

- บทบาทของครู